ปีที่จบ | ระดับการศึกษา | วุฒิการศึกษา | สาขาวิชา | สถาบัน |
---|---|---|---|---|
2552 | ปริญญาเอก | Doctor of Philosophy | Philosophy | Universiti Utara Malaysia |
สาขา |
---|
บทความ |
---|
ลุกมาน เฮาะมะ, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2567). ผลการฝึกเทคนิคจิตวิทยาการกีฬาเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจของนักกีฬาฟุตบอลเยาวชน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ, 16(1),xx. |
อามานี ยีดอรอแม, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2566). กลุ่มการปรึกษาตามแนวคิดอัตถิภาวนิยมเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำ แก่ผู้นำครอบครัวมุสลิมตามแนวทางศาสดา. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 7(4),15-30. |
กฤติยา แสงสุวรรณ และสุใจ ส่วนไพโรจน์. (2566). ศิลปะบำบัดสู่การพัฒนาทักษะมนุษย์แก่เยาวชนที่เข้ารับการศึกษานอกระบบ. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 7(6),310-323. |
นิธิรา สระโพธิ์, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2565). ผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดอัตถิภาวะนิยมร่วมกับหลักการอิสลามเพื่อเสริมสร้างกลวิธีในการเผชิญปัญหาของแม่วัยใสมุสลิมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา, 17(1),29-39. |
ฝ้ายลิกา ยาแดง, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2565). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มด้วยแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะแก่นักศึกษาครอบครัวหย่าร้าง. วารสารครุศาสตร์ราชภัฏเชียงใหม่, 1(2),33-49. |
ศุภลักษณ์ หมื่นสุรินทร์ และสุใจ ส่วนไพโรจน์. (2561). กระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการลดพฤติกรรมเสพเกมของวัยรุ่น. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 29(1),114-126. |
สุใจ ส่วนไพโรจน์. (2561). Effect of Supportive Group Counseling on Increasing Puspose in Life of Windos in Terrorism . วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 6(2),. |
Proceeding |
---|
อนงค์ อินทองแก้ว, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2566). ผลของโปรแกรมปรึกษาแบบกลุ่มมาราธอนตามแนวคิด Satir Model ต่อการรับรู้ความสามารถของตนในการป้องกัน การเสพซ้ำของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด. ใน จัดการประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 10 และนานาชาติ ครั้งที่ 6 National and International Conference on Education 2023 (NICE): ในหัวข้อ “ความงอกงามทางการศึกษาที่ยั่งยืนและเสมอภาคสำหรับทุกคน: Cultivating Sustainable and Equitable Educatio (หน้า 166-177). คณะศึกษาศาสตร์: คณะศึกษาศาสตร์. (8-9 มิถุนายน) |
อุษณี กีรติวิโรจน์กุล และสุใจ ส่วนไพโรจน์. (2566). ผลของการใช้ชุดกิจกรรมจิตวิทยาเชิงบวกต่อการเสริมสร้างความคิดเชิงบวกแก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. ใน จัดการประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 10 และนานาชาติ ครั้งที่ 6 National and International Conference on Education 2023 (NICE): ในหัวข้อ “ความงอกงามทางการศึกษาที่ยั่งยืนและเสมอภาคสำหรับทุกคน: Cultivating Sustainable and Equitable Educatio (หน้า 708-722). คณะศึกษาศาสตร์: คณะศึกษาศาสตร์. (8-9 มิถุนายน) |
นิธิรา สระโพธิ์, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2563). กลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาร่วมกับหลักคำสอนอิสลามเพื่อเสริมสร้างกลวิธีในการเผชิญปัญหาของแม่วัยในมุสลิมในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 7 (หน้า 740-754). ปัตตานี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2-3 กรกฎาคม 2563) |
สมศักดิ์ จันลาภ, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และมัฮดี แวดราแม. (2563). ผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางและทฤษฎีพิจารณาความเป็นจริงที่มีต่อการกำกับตนเองด้านนิสัยการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนขยายโอกาสในจังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 7 (หน้า 711-727). ปัตตานี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2-3 กรกฎาคม 2563) |
วิวรรษา แซ่เจี่ย และสุใจ ส่วนไพโรจน์. (2561). ระดับความเข้มแข็งทางใจของเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดปัตตานี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หน้า 1457-1462). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (21 กรกฎาคม 2561 ) |
รอหานา อีซอ, สุใจ ส่วนไพโรจน์ และณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 4 "นวัตกรรมการศึกษาเพื่อ Thailand 4.0" (หน้า 1094-1102). สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (25-27 กรกฎาคม 2560) |