ข้อมูล ส่วนบุคคล

อาจารย์ นูรอาซีกีน ยีสมัน (NOORASIKIN YEESAMAN)


อาจารย์

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและเทคโนโลยีและเทคโนโลยี

nuraasikin.h@psu.ac.th

ประวัติการศึกษา
ปีที่จบ ระดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สาขาวิชา สถาบัน
2549 ปริญญาโท วท.ม. Biotechnology Kolej Universiti Sains dan Teknologi Malaysia
2545 ปริญญาตรี วท.บ. ชีววิทยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สาขาที่เชียวชาญ/เฉพาะทาง
สาขา
ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ (ในประเทศ/ต่างประเทศ)
บทความ
สุพรรษา สุวรรณชาตรี, ฮามีด๊ะ มูสอ, ศุภกาญจน์ บัวทิพย์, ปาลิดา สายรัตทอง พัฒนพิชัย, นูรอาซีกีน ยีสมัน, ศักรินทร์ ชนประชา และอาฟีฟี ลาเต๊ะ. (2563). การเตรียมความพร้อมของครูใหม่เพื่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. ครุศาสตร์สาร, 14(2),229-242.
มัฮดี แวดราแม, อาฟีฟี ลาเต๊ะ, สุพรรษา สุวรรณชาตรี, นูรอาซีกีน ยีสมัน และฮามีด๊ะ มูสอ. (2561). ความต้องการจำเป็นในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผ่านมุมมองของนักศึกษา ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศ และผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 29(2),79-86.
อาฟีฟี ลาเต๊ะ, มัฮดี แวดราแม, แวฮาซัน แวหะมะ, สุพรรษา สุวรรณชาตรี, นูรอาซีกีน ยีสมัน, ศุภกาญจน์ บัวทิพย์ และสินี คูหามุข. (2561). การวิเคราะห์ปัจจัยเสริมสร้างศักยภาพด้านการวิจัยในชั้นเรียนของผู้สอนระดับอุดมศึกษา. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(3),2665-2685.
อาฟีฟี ลาเต๊ะ, มัฮดี แวดราแม, สุพรรษา สุวรรณชาตรี, นูรอาซีกีน ยีสมัน และฮามีด๊ะ มูสอ. (2560). การพัฒนารูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูผ่านการพัฒนาครูพี่เลี้ยงด้วยการสร้างระบบการโค้ชในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. Journal of Information and Learning, 28(2),xx-xx.
Lateh, A. , Waedramae, M. , Weahama, W. , Suvanchatree, S. , Yeesaman, N. & Buatip, S. (1478). Developing Action Research Model for Thai Tertiary Classrooms. International Journal of Instruction, 14(1),567-586.
Proceeding
อันวาร์ อิบราฮิม, นูรอาซีกีน ยีสมัน และจันทร์ดา พิทักษ์สาลี. (2565). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับบทความวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อทักษะการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 9 และนานาชาติ ครั้งที่ 5 นวัตกรรมเพื่อการศึกษาแบบองค์รวม: การเปลี่ยนผ่านจากภาวะปกติใหม่สู่ความปกติที่เปลี่ยนไป (หน้า 2-16). ปัตตานี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (19-20 พฤษภาคม 2565)
อิมรอน วาเล๊าะแต, นูรอาซีกีน ยีสมัน และจันทร์ดา พิทักษ์สาลี. (2565). ผลการจัดการเรียนรู้ออนไลน์แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับกิจกรรมการคิดแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ฝ่ายมัธยมศึกษา). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 9 และนานาชาติ ครั้งที่ 5 นวัตกรรมเพื่อการศึกษาแบบองค์รวม: การเปลี่ยนผ่านจากภาวะปกติใหม่สู่ความปกติที่เปลี่ยนไป (หน้า 17-31). ปัตตานี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (19-20 พฤษภาคม 2565)
ฟิรดาวส์ ปิยานนทพงศ์, นูรอาซีกีน ยีสมัน และแสงเดือน หมัดสะเม๊าะ. (2565). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบอุปนัยร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสมรรถนะความสามารถในการคิด เรื่อง ระบบหายใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 9 และนานาชาติ ครั้งที่ 5 นวัตกรรมเพื่อการศึกษาแบบองค์รวม: การเปลี่ยนผ่านจากภาวะปกติใหม่สู่ความปกติที่เปลี่ยนไป (หน้า 2664-2675). ปัตตานี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (19-20 พฤษภาคม 2565)
จันทร์ดา พิทักษ์สาลี และนูรอาซีกีน ยีสมัน. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานรายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับครูที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาครูชั้นปีที่ 4 สาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ใน การประชุมวิชาการ Joint International Education Conference 2019 the 8th PSU Education Conference and 4th Inspirational Scholar Symposium (หน้า ). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (12-13 ธันวาคม 2562)
อาซียาห์ สาเมาะ, นูรอาซีกีน ยีสมัน และสุพรรษา สุวรรณชาตรี. (2562). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ LPDQ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้านที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ทักษะการทำงานเป็นทีม และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ใน การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัย "นวัตกรรมวิชาชีพครู" เครือข่ายสถาบันผลิตครูภาคใต้ตอนล่าง ครั้งที่ 2 (หน้า 352-371). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ. (26 มกราคม 2562)
นูรอาซีกีน ยีสมัน และจันทร์ดา พิทักษ์สาลี. (2562). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการในรายวิชาการจัดการเรียนรู้และการสอนเฉพาะสาขา สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาชีววิทยาผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา. ใน การประชุมวิชาการ Joint International Education Conference 2019 the 8th PSU Education Conference and 4th Inspirational Scholar Symposium (หน้า 276-283). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (12-13 ธันวาคม 2562)
สุพรรษา สุวรรณชาตรี, นูรอาซีกีน ยีสมัน, ฮามีด๊ะ มูสอ, แวฮาซัน แวหะมะ, มัฮดี แวดราแม และอาฟีฟี ลาเต๊ะ. (2559). การประเมินความต้องการจำเป็นต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ “บูรณาการงานวิจัยเพื่อสังคม” Integrating Research into the Society (หน้า ). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ . (26-29 พฤษภาคม 2559 )