ตอนที่ 1
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจด้านความรู้/ทักษะ/การนำไปใช้ประโยชน์หลังการเข้าร่วมกิจกรรม
รายการ | X Bar | S.D |
---|---|---|
1. การพัฒนาศักยภาพของท่านในการใช้นวัตกรรมด้านการอ่านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย | 4.30 | 0.89 |
2. ระดับความรู้ ในการใช้นวัตกรรมด้านการอ่านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย | 4.34 | 0.77 |
3. การมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม | 4.33 | 0.68 |
4. การนำนวัตกรรมการอ่านไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน | 4.40 | 0.58 |
5. นวตกรรมการอ่าน มีประโยชน์ต่อผู้เรียน | 4.39 | 0.82 |
6. นวตกรรมการอ่าน มีประโยชน์ต่อผู้สอน | 4.55 | 0.56 |
7. ภาพรวมระดับความพึงพอใจของท่านในการเข้าร่วมกิจกรรม | 0.00 | 0.00 |
ส่วนที่ 3 ประเมินความพึงพอใจด้านวิทยากร
รายการ | X Bar | S.D |
---|---|---|
1. บุคลิกภาพเหมาะสมน่าเชื่อถือ | 4.82 | 0.10 |
2. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร | 4.85 | 0.36 |
3. มีความครบถ้วนของเนื้อหาในการจัดกิจกรรม | 4.87 | 0.34 |
4. โดยภาพรวม วิทยากรมีความเหมาะสมในการพัฒนาทักษะด้านการส่งเสริมผู้เรียนระดับปฐมวัยด้วยนวัตกรรมการอ่าน | 4.84 | 0.37 |
ประโยชน์ที่โรงเรียนและชุมชนได้รับจากการดำเนินโครงการฯ
ทดสอบ |
ได้รับความรู้มาก |
รู้วิธีการสอน การออกแบบกิจกรรม การแก้ปัญหาการออกเสียงของนักเรียน |
ได้รู้จักทฤษฎีการสอนเเละรายละเอียดการเเก้ปัญหาภาษาไทย |
นำมาปรับใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน |
สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับนักเรียนในชั้นเรียนได้ดีมากค่ะ |
ได้นำความรู้ไปต่อยอดให้กับผู้เรียน |
ได้แนวคิดที่จะนำไปแก้ไขปัญหาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ |
ครูในโรงเรียนได้รับการพัฒนาตนเอง |
นำไปปรับใช้ในการตัดการเรียนการสอน |
จะได้สร้างบทอ่านเพื่อจับใจความโดยมีคำพื้นฐานอยู่ในบทอ่าน |
นำความรู้ในครั้งนี้ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน |
นำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนกาสอน |
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแก้ปัญหาด้านการอ่านและการเขียนให้แก่นักเรียน |
ได้รับความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อไป |
ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและแก้ปัญหาการอ่าน การเขียนของนักเรียน |
สามารถนำไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน |
ประยุกต์ใช้ในการ ทำเครื่องมือ พัฒนาการอ่านการเขียนภาษาไทย |
สามารถนำเอาวิธีการ ที่อ.นำเสนอมาปรับใช้ ในบริบทของ รร.ได้ |
ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นที่ตนเองสอน |
สามารถนำไปใช้แก้ปัญหาการอ่านออกของนักเรียนในชั้นที่รับผิดชอบร่วมกับครูภาษาไทย |
แนวทางการจัดทำแบบฝึกการแก้ปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน |
ได้รับความรู้ที่หลากหลาย เทคนิคการสอนต่างๆโดยใช้คำบัญชีพื้นฐาน |
คุณครูสามารถนำความรู้ที่วิทยากรได้ถ่ายทอด นำไปประยุกต์ใช้กับนักเรียนที่โรงเรียนได้ |
สามารถนำความรู้ไปออกแบบสื่อความการแก้ปัญหาที่ร.ร.ต่อไปค่ะ |
จะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหา อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ต่อไป |
สามารถนำไปใช้เป็นแบบอย่างได้ดีมาก |
สามารถนำกระบวนการที่วิทยากรให้ความรู้ตลอด3วันนี้ไปใช้กับนักเรียนในโรงเรียน |
พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้เพิ่มขึ้น ผลสัมฤทธิิ์ทางการเรียนระดัััััััััับสถานศึกษา และการทดสอบระดับชาติสูงขึึ้น |
ประยุกต์ใช้ในการทำเครื่องมือการพัฒนาการอ่านการเขียน |
สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้กับนักเรียนที่โรงเรียนค่ะ |
วิธีการสอน แล้วการออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับระดับชั้ร |
ได้ความรู้เพิ่มจากวิทยากรโดยเฉพาะหลักการสรุปใจความสำคัญของเรื่อง การหาประเด็นสำคัญของเรื่อง |
ประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องมือพัฒนาการอ่านการเขียน |
โรงเรียนรับประโยชน์และเทคนิคทางด้านการจัดการเรียนการสอนทำให้ครูมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น |
ครูนำไปพัฒนาตัวเองและเด็กได้ตรงจุด |
นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา |
สามารถนำไปปรับใช้ในการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น |
นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่านการเขียน |
นำไปแก้ปัญหาการอ่านของนักเรียนได้ |
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารรถนำความรู้ที่อบรมมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน อย่างถูกวิธี
|
ได้แนวคิดใหม่ๆมาปรับใช้กับการสอนในห้องเรียน มีความกระจ่างขึ้นในหลายประเด็น |
ได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย นำไปประยุกต์ในใช้กับบริบทของโรงเรียนได้ |
เด็กได้ความรู้เช่น..การอ่านคำ...การทำเสื้อ |
นำไปเป็นแนวในการจัดกิจกรรมการเรียนและแก้ไขปัญหาการอ่านเขียน |
- การสังเกตพฤติกรรมของเด็กเพื่อดำเนินการประเมินว่าควรมรแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร |
ได้ความรู้จากการอบรมของวิทยากรมาปรับใช้กับนักเรียนในสถานศึกษา |
สามารถนำความรู้ทีได้ปรับใช้ในการวางแผนการจดการเรียนการสอน |
ครูสามารถนำแนวคิดไปปรับใช้ พัฒนาการอ่านออกเขียนภาษาไทยได้ ทำให้นักเรียนในโรงเรียนมีพัฒนาการในเรื่องการอ่านและการเขียนมากขึ้น |
นำไปปรับใช้ในการจัดการเรียนกาสอน |
ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
ทดสอบ |
ครูที่ไม่จบตรงตามวิชาเอกมีความรู้ที่ไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย จึงออกแบบการสอนได้ไม่เต็มที่เท่าทีควร |
ไม่มี |
อินเตอร์ความแรงไม่พอ อาจติดขัดบ้างค่ะ |
อยากให้มึโครงการต่อเนื่อง |
เวลาน้อยเกินไป |
ตนเองไม่ได้จบภาษาไทย มีประสบการณ์ในการสอนน้อย แต่ได้รับความรู้จากการอบรมครั้งนี้มาก เข้าใจ และสนุกที่สุด |
ไม่ได้สอนภาษาไทย แต่เป็นครูประจำชั้น บางประเด็น ก็ไม่ได้ช่วยตอบหรือมีส่วนร่วม |
อยากมีความต่อเนื่องในการอบรมครั้งต่อๆไปค่ะ |
สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร |
- |
- |
- |
เนื่องจากมีการติดขัดในส่วนของตัวเองที่ต้องเข้าร่วมกิจจกรรมของจชต .ส่วนหน้า จึงร่วมกิจกรรมได้ไม่เต็มที่ค่ะ |
ตัวแปรแทรกซ้อน ในการอบรม ออนไลน์ |
รร.ไม่สามารถเปิดเรียนแบบปกติได้ |
- |
ความพร้อมของอุปกรณ์และสัญญาณอินเตอร์เน็ต อยากให้จัดอบรมจริงๆหลังจากสถานการณ์คลี่คลายด้วยค่ะ |
- |
อยากให้มีการอบรมอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น |
อุปกรณ์ไม่พร้อม ไมคโครโฟนของโน๊ตบุคเสียและสัญญาณอินเตอร์เน็ตช้าค่ะ |
อบรมแบบออนไลน์สัญญาณไม่ค่อยดีไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากใช้สัญญาณโทรศัพท์ |
การอบรมซ้ำซ้อน ภาวะแทรกซ้อนจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเมื่อต้องอบรมที่บ้าน และสัญญาณเครือข่ายที่ไม่เสถียร |
ตัวแปรแทรกซ้อนในการอบรมออนไลน์ |
อินเตอร์เน็ตติดขัด |
สำหรับครูที่ไม่ตรงวุฒิ อาจจะออกแบบกิจกรรมได้ไม่ดีเท่าที่ควร และอยากให้มีการจัดิบรมอีกครั้ง |
อยากให้มีชุดสื่อส่งตามรร. |
ตัวแปรแทรกซ้อน ในการอบรมออนไลน์ |
อยากให้อบรมปกติ..ได้เจออาจารย์เพื่อนๆช่วยกันระดมความคิดได้ง่ายขึ้น |
- |
ช่วงเวลาของการอบไม่ควรเป็นช่วงสุดท้ายของปีงบประมาณ เพราะทุกหน่วยงานจะเร่งมาจัดอบรมในช่วงเวลาเดียวกัน บางครั้งอาจทำให้ผู้เข้าร่วมติดภารกิจอื่นๆได้ |
-สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร -ครูขาดทักษะการใช้อุปกรณ์ |
ให้มีการจัดอบรมขึ้นอีก |
- |
มีการขาดหายเป็นบางช่วง และบางเนื้อหายากระดับหนึ่ง เพราะไม่ได้จบเอกมา บางครั้งคิดไม่ทันตามวิทยากร และช่วงเดือนกันยายนจะมีงานที่ต้องทำจำนวนมากโดยเฉพาะครูน้อยๆและต้องอบรมหลายรายการในเวลาเดียวกัน |
ช่วงแรกของวันที่8 zoomไม่ได้ |
ไม่มี |
- |
- |
นักเรียนส่วนใหญ่อยู่กับตายาย พ่อแม่หย่ากัน ทำให้ขาดความเอาใจใส่ภายในครอบครัว |
ควรเปิดให้มีการอบรมโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง |
ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาการอ่านออกเสียง คือ นักเรียนส่ใช้ภาษาท้องถิ่นในการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ และนักเรียนขาดความเอาใจเขามาใส่ใจจากผู้ปกครอง เนื่องจากอาศึอยู่กับผู้สูงอายุ |
สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร |
ไม่มี |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |